[เตือนภัย] ธนบัตรปลอมรุ่นใหม่
มันมาอีกแล้ว หลังจากหายไปได้พักใหญ่
แน่นอนว่ากลับมาใหม่ครั้งนี้อัพเกรดขึ้นกว่าเดิม ชนิดดูผิวเผินนี่ยังไงก็ของจริงเลยทีเดียว
จะเนียนแค่ไหนเราลองมาดูกัน
[เอ่อ...ถ้าไม่เขียนแบงค์ปลอมนี่ดูยังไงก็จริง ขนาดแถบฟอยล์ยังใช่เลย พลิกๆสีรุ้ง มีครุฑ ]
แถมลองจับดูก็เป็นเนื้อธนบัตรแบบของจริง(ไม่ใช่เนื้อกระดาษทั่วไปแบบของปลอมกากๆ)
คราวนี้มาส่องไฟแบล็คไลท์เปรียบเทียบกับของจริงกัน ถ้าของปลอมปกติจะเรืองแสง
[เฮ้ย!! เหมือนเด๊ะๆอ่ะ แถมมีพรายน้ำเหมือนกันด้วย !!]
แต่ถึงจะเนียนของปลอมก็คือของปลอม ยังไงก็ยังมีจุดสังเกตอยู่
ใช้ความช่างสังเกตกันนิดนะคะ
ข้อสังเกตของแบงค์ปลอมรุ่นนี้ :-
:: รอยต่อ ::
มันคือรอยต่อของกระดาษ 4 ท่อน(บางรุ่น 3 ท่อน) โอ้ แม่เจ้า!!
อันนี้เนียนจริงอะไรจริง ถ้าไม่ยกส่องไฟแทบไม่สัง! เกตเลย
แถมกาวที่ใช้ต่อก็เป็นกาวชนิดพิเศษคุณภาพดี(ยังจะชม) ลูบแล้วไม่รู้สึกสะดุดเลยด้วยซ้ำ
:: สีของตัวเลข 1,000 ::
อันนี้ยังใช้วิธีดูแบงค์ 1,000 ปลอมได้ดีไม่ว่าจะรุ่นไหน (ถ้าปลอมแบงค์อื่นซวยไป -_-)
แบงค์ 1,000 จะเปลี่ยนสีเวลาเปลียนมุม ถ้ามองตรงๆจะเป็นสีทองแดง พลิกแล้วเป็นสีเขียว
อันนี้ของจริง
อันนี้ปลอม สีจะไม่เปลี่ยน
:: ลายน้ำ ::
ดูเผินๆแล้วพระพักตร์ก็ชัดเจน ลายดอกไม้ก็โปร่งใสตามแบบฉบับของแบงค์จริงชัดๆ
แต่มีใครเคยสังเกตพระพักตร์ในหลวงกับลายน้ำรูปดอกไม้ที่แบงค์กันมั่งไหม ?
ถ้ายังนึกไม่ออก นี่คือตัวอย่างลายน้ำของแต่ละแบงค์แต่ละราคา
คุ้นๆกันรึยัง?
ใช่แล้ว! (ถ้าไม่คุ้นก็เออออหน่อย เฉลยแล้วค่อยกลับขึ้นไปดู ฮา)
มันคือลายน้ำของแบงค์ 20 !!
นี่เป็นสาเหตุหลักเลยว่าทำไมแบงค์ปลอมอันนี้มันถึงเหมือนแบงค์จริงมากๆ
เนื้อกระดาษก็เป็นเนื้อธนบัตร! ส่องแล้วมีพรายน้ำ
เพราะมันคือ"แบงค์ปลอมที่ทำมาจากแบงค์จริง"
เป็นการตัดต่อกันระหว่างแบงค์ 1,000 จริงๆ กับ แบงค์ 20 ที่ถูกฟอกและพิมพ์ใหม่ให้เป็นแบงค์ 1,000
ใบนี้มีส่วนที่เป็นแบงค์ 1,000 จริงๆ คือแถบฟอยล์สีรุ้งเท่านั้น นอกนั้น 20
(ถ้าไม่ทันสังเกตลองย้อนกลับไปดูรูปแรก หมายเลขแบงค์ยังเป็นเลขเดียวกันเลย
จริงๆ 2 ใบนี้ได้มาจากต่างที่นะ แต่สงสัยจะมาจากแหล่งเดียวกัน)
แทบจะยอมมันเลย ความพยายามและความสามารถคุณสูงมากกกกกกก
มากจนเอาไปทำอย่างอื่นที่มันสร้างสรรค์กว่านี้จะไม่ดีกว่าเหร! อ(วะ) !?!
แถม : อันนี้ด้านหลังไม่ค่อยเนียน สังเกตง่ายนิดนึง (ความเนียนขึ้นอยู่กับฝีมือคนทำแต่ละใบ)
แถบสีเงินก็ใช้ปากกาสีเงินเขียนเอาหน้าด้านๆแบบนี้ล่ะ
ps. จริงๆแบงค์ 20 กลายสภาพมาเป็นแบงค์ได้ทุกราคานะ แต่พอดีไม่มีตัวอย่าง
มันมาอีกแล้ว หลังจากหายไปได้พักใหญ่
แน่นอนว่ากลับมาใหม่ครั้งนี้อั
จะเนียนแค่ไหนเราลองมาดูกัน
[เอ่อ...ถ้าไม่เขียนแบงค์
แถมลองจับดูก็เป็นเนื้อธนบั
คราวนี้มาส่องไฟแบล็คไลท์เปรี
[เฮ้ย!! เหมือนเด๊ะๆอ่ะ แถมมีพรายน้ำเหมือนกันด้วย !!]
แต่ถึงจะเนียนของปลอมก็คื
ใช้ความช่างสังเกตกันนิดนะคะ
ข้อสังเกตของแบงค์ปลอมรุ่นนี้ :-
:: รอยต่อ ::
มันคือรอยต่อของกระดาษ 4 ท่อน(บางรุ่น 3 ท่อน) โอ้ แม่เจ้า!!
อันนี้เนียนจริงอะไรจริง ถ้าไม่ยกส่องไฟแทบไม่สัง! เกตเลย
แถมกาวที่ใช้ต่อก็เป็นกาวชนิดพิ
:: สีของตัวเลข 1,000 ::
อันนี้ยังใช้วิธีดูแบงค์ 1,000 ปลอมได้ดีไม่ว่าจะรุ่นไหน (ถ้าปลอมแบงค์อื่นซวยไป -_-)
แบงค์ 1,000 จะเปลี่ยนสีเวลาเปลียนมุม ถ้ามองตรงๆจะเป็นสีทองแดง พลิกแล้วเป็นสีเขียว
อันนี้ของจริง
อันนี้ปลอม สีจะไม่เปลี่ยน
:: ลายน้ำ ::
ดูเผินๆแล้วพระพักตร์ก็ชัดเจน ลายดอกไม้ก็โปร่งใสตามแบบฉบั
แต่มีใครเคยสังเกตพระพักตร์
ถ้ายังนึกไม่ออก นี่คือตัวอย่างลายน้ำของแต่
คุ้นๆกันรึยัง?
ใช่แล้ว! (ถ้าไม่คุ้นก็เออออหน่อย เฉลยแล้วค่อยกลับขึ้นไปดู ฮา)
มันคือลายน้ำของแบงค์ 20 !!
นี่เป็นสาเหตุหลักเลยว่
เนื้อกระดาษก็เป็นเนื้อธนบัตร! ส่องแล้วมีพรายน้ำ
เพราะมันคือ"แบงค์ปลอมที่
เป็นการตัดต่อกันระหว่างแบงค์ 1,000 จริงๆ กับ แบงค์ 20 ที่ถูกฟอกและพิมพ์ใหม่ให้เป็
ใบนี้มีส่วนที่เป็นแบงค์ 1,000 จริงๆ คือแถบฟอยล์สีรุ้งเท่านั้น นอกนั้น 20
(ถ้าไม่ทันสังเกตลองย้อนกลั
จริงๆ 2 ใบนี้ได้มาจากต่างที่นะ แต่สงสัยจะมาจากแหล่งเดียวกัน)
แทบจะยอมมันเลย ความพยายามและความสามารถคุณสู
มากจนเอาไปทำอย่างอื่นที่มันสร้
แถม : อันนี้ด้านหลังไม่ค่อยเนียน สังเกตง่ายนิดนึง (ความเนียนขึ้นอยู่กับฝีมื
แถบสีเงินก็ใช้ปากกาสีเงินเขี
ps. จริงๆแบงค์ 20 กลายสภาพมาเป็นแบงค์ได้ทุ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น