เจริญพร ขอให้มีความสุขสมหวังและ ถึงความสิ้นทุกข์ในเวลาอันใกล้โดยง่ายเทอญ

ยินดีต้อนรับ สหธรรมิกผู้มีใจเป็นกุศลทุกๆท่านครับ

ขอเรียนเชิญ สหธรรมิกทุกๆท่านมาร่วมศึกษาและปฏิบัติธรรมของพระพุทธองค์ รวมทั้งแบ่งปันความรู้ ข้อคิด คำแนะนำ ด้วยใจที่เปี่ยมด้วยเมตตาครับ

" ความมืดแม้ทั้งโลก ก็บดบังลำแสงเพียงน้อยนิดมิได้ "


สันโดษ

สันโดษ
สุขใด เสมอความสงบ ไม่มี

หน้าเว็บ

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
อดีตที่ผ่านมาเป็นบทเรียน อโหสิให้ทุกคน แต่อย่ามีเวรกรรมร่วมกันอีกเลย

ผู้ติดตาม

วันอาทิตย์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2553

โครงการผู้ก่อการบุญได้จัดทำภาพกสิณในแบบต่างๆ และภาพพระพุทธเพื่อใช้ในการฝึกสมาธิอย่างง่าย บนจอคอมพิวเตอร์



โครงการผู้ก่อการบุญได้จัดทำภาพกสิณในแบบต่างๆ และภาพพระพุทธเพื่อใช้ในการฝึกสมาธิอย่างง่าย บนจอคอมพิวเตอร์

การฝึกทำสมาธิมีหลายรูปแบบ แล้วแต่ผู้สอนจะนำมาแนะนำ ทางโครงการผู้ก่อการบุญ จะแนะนำการทำสมาธิพอ ปฏิบัติง่ายๆ ดังนี้

การฝึกหายใจให้สมบูรณ์ คือการฝึกหายใจให้ร่างกายได้รับอ๊อกซิเจนอย่างเต็มที่ จะทำให้ร่างกายแข็งแรง และจิตใจแจ่มใส การอยู่ในอริยาบทที่สบาย ถ้านั่งก็นั่งแบบสบายๆ แต่ไม่ต้องเอนไปเอนมา เป็นมนุษย์ไร้สันหลังนะครับ ค่อยๆหายใจเข้าลึกๆ จนลมหายใจไปถึงกระบังลม ที่เรียกว่าหายใจเข้าท้องป่อง หลังจากนั้นก็หยุดหายใจสัก ๒-๔ วินาที เพื่อให้ปอดได้รับอ็อกซิเจนอย่างเต็มที่ แล้วจึงค่อยๆ ปล่อยลมหายใจออกอย่างช้าๆ จนท้องแฟ่บ ซึ่งข้อมูลการหายใจแบบนี้ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก หนังสือ วิทยาศาสตร์การหายใจ ของเจ้าคุณนรฯ ซึ่งได้แปลและเรียบเรียงค้นคว้าขึ้นมา ในสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งตอนนี้หนังสือเป็นลิขสิทธิ์ ของมูลนิธิเจ้าคุณนรฯ
เมื่อหายใจอย่างสมบูรณ์แล้วก็มาเริ่มฝึกสมาธิกัน โดยท่านสามารถเลือกได้ว่าจะฝึกสมาธิกับอะไร เช่น การเพ่งกสิณ การมองพระพุทธรูป และที่นิยมคือการติดตามลมหายใจของตนเองในขณะนั่ง และติดตามการเดินของตนเอง ในขณะเดินจงกลม ซึ่งถือว่าเป็นการฝึกสมาธิที่ได้ผลดีชนิดหนึ่ง ในบางตำรา และบางสำนัก นิยมให้ฝึกสมาธิแบบเป็นชุด คือ เดินจงกลมส่วนหนึ่ง เสร็จแล้วมานั่งสมาธิอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเชื่อกันว่าจะทำให้การฝึกสมาธิ พัฒนาไปได้เร็วยิ่งขึ้น บางตำราให้เพิ่มการนอนสมาธิ หลังจากการนั่งสมาธิ อีกส่วนหนึ่งด้วย
ก่อนทำสมาธินั้นควรตั้งจิต อธิษฐานว่าจะทำสมาธิ รวมทั้งมนัสการคุณพระรัตนตรัยก่อน
สำหรับการจัดท่าทางการทำสมาธินั้น ขอให้ผ่อนคลายแต่อย่าสบายจนหลับแล้วกัน
ข้อควรระวังที่ทำให้สมาธิฟุ้งซ่าน และไม่พัฒนาก็คือ การติดอยู่กับทางโลก โดยเฉพาะเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่อง รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ต่างๆ ชวนพาให้จิตใจฟุ้งซ่าน เตลิดเปิดเปิงไปได้ง่ายๆ ความง่วงเหงาหาวนอน ก็เป็นตัวบั้นทอนสมาธิที่ร้ายกาจ การปล่อยอารมณ์โกรธ อาฆาตพยาบาทก็เป็นตัวทำลายสมาธิ และความลังเลสงสัย ในผลของการปฏิบัติก็เป็นตัวปัญหาสำคัญที่ทำให้การฝึกสมาธิไม่เป็นผล ที่ทางธรรมเรียกสิ่ง ต่างๆ เหล่านี้ว่า นิวรณ์ทั้ง ๕ ซึ่งจำเป็นต้องปล่อยวางก่อนจะเข้าสู่การทำสมาธิ
หลังการทำสมาธิ ควรอุทิศบุญที่สำเร็จแก่ ตนเอง มารดาบิดา ญาติ ครูอาจารย์ เทพเทวา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกรูปทุกปาง เจ้าบุญนายคุณ เจ้ากรรมนายเวร และแผ่เมตตาแก่สัตว์โลกทั้งหลาย
::: การฝึกการหายใจแบบสมบูรณ์ไปพร้อมๆ กับการฝึกสมาธิขั้นต้น ควรฝึกขั้นตอนนี้ให้ชำนาญก่อนฝึกขั้นตอนต่อไป

::: การฝึกสมาธิโดยการเพ่งกสิณ การฝึกเพ่งกสิน เป็นวิธีการทำสมาธิ และทำวิปัสสนากรรมฐานขั้นพื้นฐาน การปฏิบัติ คือมีสมาธิจดจ่ออยู่กับภาพกสิณ เพื่อฝึกให้จิตนิ่งอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

การฝึกกับจอคอมพิวเตอร์ควรใช้เวลาไม่เกินครั้งละ 10 นาที และไม่ควรเพ่งสายตา ควรมองไปที่จุดกสิณเรื่อยๆ อย่างสงบ และใจเย็น และควรยกเลิกการตั้งค่า สกรีนเซฟเวอร์ เสียก่อน มิฉะนั้นอาจทำให้สมาธิหลุดได้ เพราะการทำสมาธิอยู่นั้นจิตจะจดจ่ออยู่กับภาพกสิณ หากมีการดับ หรือเปลี่ยนภาพ โดยไม่รู้ตัว อาจทำให้ตกใจได้

การทำสมาธิหน้าคอมฯ มีให้เลือก ๓ แบบ คือแบบเงียบไม่มีเสียง เหมาะสำหรับการเพ่งกสิณด้วยใจสงบ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดมารบกวนสมาธิจากภาพกสิณ และแบบมีเสียงสวดมนต์ซึ่ง ใช้ใน 2 กรณีคือ สำหรับผู้ฝึกทำให้มีสมาธิดีแล้ว สมาธิรวบรวมสมาธิให้เท่าทันทั้ง การหายใจของตนเอง ภาพที่อยู่ตรงหน้า และเสียงที่ได้ยิน สำหรับผู้ที่ยังไม่มีสมาธิมากนัก แบบมีเสียงสวดมนต์จะช่วยให้ผ่อนคลาย โปรดทำจิตใจให้สงบ และเปิดเสียงสวดมนต์อย่าเสียงดังมาก


ฝึกเพ่งกสิณกับเปลวเทียน
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ฝึกเพ่งกสิณกับจุดแสง รัศมีเปลี่ยนสี
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ฝึกเพ่งกสิณกับจุดแสง รัศมีสีแดง
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ฝึกเพ่งกสิณกับจุดแสง รัศมีสีน้ำเงิน
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)

ฝึกเพ่งกสิณกับจุดสีเขียว
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)
:: การฝึกสมาธิโดยการเพ่งภาพพระพุทธรูป เพื่อระลึกถึงคุณพระพุทธ อย่างมองจุดใดจุดหนึ่งขององค์พระพุทธรูป ให้มองภาพรวมแล้วค่อยๆ จดจำภาพจนติดอยู่ในใจ แม้หลับตาแล้วก็สามารถเรียกภาพองค์พระพุทธรูปปรากฏอยู่ในความรู้สึกได้ หากสมาธิสูงขึ้น ให้ระลึกถึงคุณพระพุทธ คุณพระธรรม จะยกระดับสมาธิ และจิตใจให้สูงขึ้นได้

การฝึกกับจอคอมพิวเตอร์ควรใช้เวลาไม่เกินครั้งละ 10 นาที และไม่ควรเพ่งสายตา ควรมองไปที่ภาพพระพุทธรูปเรื่อยๆ อย่างสงบ และใจเย็น และควรยกเลิกการตั้งค่า สกรีนเซฟเวอร์ เสียก่อน มิฉะนั้นอาจทำให้สมาธิหลุดได้ เพราะการทำสมาธิอยู่นั้นจิต จะจดจ่ออยู่กับภาพกสิณ หากมีการดับ หรือเปลี่ยนภาพ โดยไม่รู้ตัว อาจทำให้ตกใจได้

การทำสมาธิหน้าคอมฯ มีให้เลือก ๓ แบบ คือแบบเงียบไม่มีเสียง เหมาะสำหรับการเพ่งกสิณด้วยใจสงบ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดมารบกวนสมาธิจากภาพกสิณ และแบบมีเสียงสวดมนต์ซึ่ง ใช้ใน 2 กรณีคือ สำหรับผู้ฝึกทำให้มีสมาธิดีแล้ว สมาธิรวบรวมสมาธิให้เท่าทันทั้ง การหายใจของตนเอง ภาพที่อยู่ตรงหน้า และเสียงที่ได้ยิน สำหรับผู้ที่ยังไม่มีสมาธิมากนัก แบบมีเสียงสวดมนต์จะช่วยให้ผ่อนคลาย โปรดทำจิตใจให้สงบ และเปิดเสียงสวดมนต์อย่าเสียงดังมาก


ภาพองค์จำลอง พระแก้วมรกต เนื้อแก้ว ทรงเครื่องทอง
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพองค์จำลอง พระแก้วมรกต องค์ทอง
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพองค์จำลอง พระแก้วมรกต องค์เงิน
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพพระพุทธชินราช
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)

ภาพองค์จำลอง พระพุทธชินราช
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพพระพุทธโสธร
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพพระพุทธสิหิงค์
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) ภาพพระศรีสรรเพชญ์
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)
::: การฝึกสมาธิโดยการเพ่งภาพพระอริยสงฆ์ เพื่อระลึกถึงคุณพระสงฆ์ อย่างมองจุดใดจุดหนึ่งขององค์พระ ให้มองภาพรวมแล้วค่อยๆ จดจำภาพจนติดอยู่ในใจ แม้หลับตาแล้วก็สามารถเรียกภาพองค์พระ ปรากฏอยู่ในความรู้สึกได้ หากสมาธิสูงขึ้น ให้ระลึกถึงคุณพระสงฆ์ จะยกระดับสมาธิ และจิตใจให้สูงขึ้นได้

การฝึกกับจอคอมพิวเตอร์ควรใช้เวลาไม่เกินครั้งละ 10 นาที และไม่ควรเพ่งสายตา ควรมองไปที่ภาพพระ เรื่อยๆ อย่างสงบ และใจเย็น และควรยกเลิกการตั้งค่า สกรีนเซฟเวอร์ เสียก่อน มิฉะนั้นอาจทำให้สมาธิหลุดได้ เพราะการทำสมาธิอยู่นั้นจิต จะจดจ่ออยู่กับภาพกสิณ หากมีการดับ หรือเปลี่ยนภาพ โดยไม่รู้ตัว อาจทำให้ตกใจได้

การทำสมาธิหน้าคอมฯ มีให้เลือก ๓ แบบ คือแบบเงียบไม่มีเสียง เหมาะสำหรับการเพ่งกสิณด้วยใจสงบ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดมารบกวนสมาธิจากภาพกสิณ และแบบมีเสียงสวดมนต์ซึ่ง ใช้ใน 2 กรณีคือ สำหรับผู้ฝึกทำให้มีสมาธิดีแล้ว สมาธิรวบรวมสมาธิให้เท่าทันทั้ง การหายใจของตนเอง ภาพที่อยู่ตรงหน้า และเสียงที่ได้ยิน สำหรับผู้ที่ยังไม่มีสมาธิมากนัก แบบมีเสียงสวดมนต์จะช่วยให้ผ่อนคลาย โปรดทำจิตใจให้สงบ และเปิดเสียงสวดมนต์อย่าเสียงดังมาก


หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) สมเด็จพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)

หลวงพ่อสด จันทสโร
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)
:: การฝึกสมาธิโดยการเพ่งภาพมหาเทพ อย่างมองจุดใดจุดหนึ่งขององค์มหาเทพ ให้มองภาพรวมแล้วค่อยๆ จดจำภาพจนติดอยู่ในใจ แม้หลับตาแล้วก็สามารถเรียกภาพองค์มหาเทพ ปรากฏอยู่ในความรู้สึกได้ หากสมาธิสูงขึ้น ให้ระลึกถึงคุณของมหาเทพ จะยกระดับสมาธิ และจิตใจให้สูงขึ้นได้

การฝึกกับจอคอมพิวเตอร์ควรใช้เวลาไม่เกินครั้งละ 10 นาที และไม่ควรเพ่งสายตา ควรมองไปที่ภาพองค์มหาเทพ เรื่อยๆ อย่างสงบ และใจเย็น และควรยกเลิกการตั้งค่า สกรีนเซฟเวอร์ เสียก่อน มิฉะนั้นอาจทำให้สมาธิหลุดได้ เพราะการทำสมาธิอยู่นั้นจิต จะจดจ่ออยู่กับภาพกสิณ หากมีการดับ หรือเปลี่ยนภาพ โดยไม่รู้ตัว อาจทำให้ตกใจได้

การทำสมาธิหน้าคอมฯ มีให้เลือก ๓ แบบ คือแบบเงียบไม่มีเสียง เหมาะสำหรับการเพ่งกสิณด้วยใจสงบ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดมารบกวนสมาธิจากภาพกสิณ และแบบมีเสียงสวดมนต์ซึ่ง ใช้ใน 2 กรณีคือ สำหรับผู้ฝึกทำให้มีสมาธิดีแล้ว สมาธิรวบรวมสมาธิให้เท่าทันทั้ง การหายใจของตนเอง ภาพที่อยู่ตรงหน้า และเสียงที่ได้ยิน สำหรับผู้ที่ยังไม่มีสมาธิมากนัก แบบมีเสียงสวดมนต์จะช่วยให้ผ่อนคลาย โปรดทำจิตใจให้สงบ และเปิดเสียงสวดมนต์อย่าเสียงดังมาก


พระพิฆเณศวร
( แบบเงียบ ) ท้าวมหาพรหม
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ) พระโพธิสัตว์ กวนอิม
( แบบเงียบ )
(แบบมีเสียงสวดมนต์ อิติปิโส ๑๐๘ จบ)
(แบบมีเสียงสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร ๙ จบ)
โครงการผู้ก่อการบุญจะทำการเพิ่มเนื้อหา ภาพสำหรับการฝึกสมาธิให้มากขึ้นอีก
ส่งความคิดเห็น ติชม มาได้ที่ polyboon@yahoo.co.th หรือ โทรศัพท์ 081 438 5895



| รายนามผู้ร่วมสบทบทุนกิจกรรมงานบุญงานกุศล |

ร่วม อนุโมทนาบุญ โดย




สาธุ

สนับสนุนข้อมูลโดย โหรามหาฤกษ์พยากรณ์

Copyright by Polyboon Co.,Ltd.

ผู้พัฒนาเว็บ www.polyboon.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น