ฉบับที่ ๔๙ จิตซ่อมได้ กรรมแก้ไม่ได้
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรรมและจิ
เป็นเรื่องยากจะหยั่งรู้ให้ทั่
แต่ง่ายที่จะทำความเข้าใจและสั
บาปกรรมที่ทำไว้แล้ว หวนกลับไปเปลี่ยนไม่ได้
เพราะฉะนั้นก็ต้องมีผลอย่
เปรียบเหมือนเราส่งแรงถีบจั
อย่างไรจักรยานก็ต้องมีแรงขั
เราไม่มีทางย้อนเวลาหวนกลั
แต่เรามีสิทธิ์ใส่แรงใหม่เข้าไป
เช่นบีบเบรกมือเพื่อให้เกิ
หรือเอาเท้าลงลากพื้นเพื่อให้
เทคนิคการเบรกมีหลายแบบ
และบางวิธีก็อาจพิสดารจนคนทั่
เช่นส่ายหน้าจักรยานไปมาให้เกิ
หรือไม่ก็ยกล้อชี้ฟ้าดื้อๆเพื่
ถามว่าเราแก้ตรงที่ส่งแรงถีบหรื
ไม่ใช่ครับ เราแก้ด้วยการใส่แรงต้านเข้
กรรมก็เหมือนกัน เราแก้แบบให้มันเจ๊าๆกันไปไม่
แต่เราเพิ่มกรรมใหม่ในทางตรงข้
ดังเช่นที่พระพุทธเจ้าเปรียบว่
รสเค็มย่อมเจือจาง หรือไม่ก็หายไปเลย ทั้งที่เกลือก็ยังอยู่ตรงนั้น
ส่วนเรื่องของจิตนั้น
เรามักได้ยินกันว่าจิตตก จิตเสีย
อันนี้เห็นชัดหน่อยว่าตรงข้ามกั
ตรงข้ามกับเสียคือคืนสภาพ
เป็นเรื่องที่ทำกันไม่ยาก ซ่อมแก้วยังยากกว่า
เพราะจิตไม่มีตัวตนเปราะบางเหมื
แต่จิตเป็นธรรมชาติภาวะที่เปลี่
เป็นดวงกุศลบ้าง เป็นดวงอกุศลบ้าง
ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยเป็นขณะๆ
กรรมในอดีตอาจตกแต่งให้บางคนมี
และเมื่อภาวะใดเกิดขึ้นบ่อยๆ
เจ้าตัวย่อมอุปาทานว่ามันจะเป็
ความจริงก็คือเมื่อฝึกเจริญสติ สังเกตรู้ตามจริง
จะพบว่าเมื่อใดเราพบจิต
รู้วิธีที่จะเห็นภาวะของจิตที่
เมื่อนั้นสติก็ช่วย "ซ่อม" จิตให้เดี๋ยวนั้น
เพราะสติเป็นเหตุใกล้ให้เกิดกุ
เกิดภาวะทางธรรมชาติดีๆขึ้
แม้ความเศร้าหมองเพิ่งเล่
พอเกิดสติเห็นว่าจิตเศร้าหมองสั
หาตัวตนบุคคลเราเขา มนุษย์หรือสัตว์ใดไม่เจอ
สติที่เกิดขึ้นแทนที่นั้นก็ยั
สมกับที่คัมภีร์บอกไว้ว่าเมื่
อกุศลจิตจะเปลี่ยนเป็นมหากุ
แต่ก็เหมือนกับรถนะครับ
เสียแล้วซ่อมผิด แทนที่จะกลับคืนดี กลายเป็นเสียหนักเข้าไปใหญ่
คนส่วนใหญ่ที่ไม่ศึกษาจิตตานุปั
จะซ่อมจิตด้วยความเครียด ด้วยความอยากเร่งให้ฟื้นคืนดี
แท้จริงเป็นการเพิ่มเหตุให้จิ
ทิ้งเหตุให้จิตเศร้าหมอง เช่นสะใจกับการย้ำคิด ย้ำตรึกนึก
สร้างเหตุให้จิตสดใส เช่นคิดอภัย คิดเลิกรา
และใส่เหตุให้จิตเบิกบานบริสุ
จิตแย่ก็ยอมรับว่าแย่ จิตสว่างขึ้นนิดหนึ่งก็ยอมรับว่
จิตคลายก็ยอมรับว่าจิตคลาย จิตกลับมาแย่อีกก็ยอมรับว่าแย่
เท่านี้แหละ สติก็เกิดขึ้นและค่อยๆผูกกันเป็
พาลอยข้ามฝั่งจากความยึดมั่นว่
ไปสู่ฝั่งแห่งความทิ้งว่าเราคื
ดังตฤณ
เมษายน ๕๔
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น